ปธน.สหรัฐฯ ทุ่มงบมหาศาลแก้ภัยแล้งสหรัฐฯ

Tuesday, 14 August 2012 Read 770 times Written by 

14 08 2012 9

รัฐบาลสหรัฐฯ ทุ่มงบประมาณสูงถึง 170 ล้านดอลลาร์รับซื้อผลิตผลของเกษตรกรเพื่อช่วยบรรเทาความทุกข์ยากอันเนื่องมาจากภัยแล้ง

ประธานาธิบดีบารัก โอบามา ผู้นำสหรัฐฯ ประกาศในระหว่างเดินสายหาเงินเข้าพรรคที่ชิคาโก เมื่อวานนี้ ว่ารัฐบาลภายใต้การดำเนินการของกระทรวงเกษตร จะใช้งบประมาณจำนวน 170 ล้านดอลลาร์ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของบรรดาเกษตรกรที่ประสบปัญหาภัยแล้ง

โดยงบประมาณที่จัดสรรให้นี้ รัฐบาลจะนำไปใช้ในการรับซื้อผลผลิตของเกษตรกร ไม่ว่าจะเป็นหมู แกะ ไก่ และ ปลาน้ำจืดทุกชนิด โดยจะขอความร่วมมือไปทางกระทรวงกลาโหมให้จัดส่งเครื่องมือและกำลังคนในการจัดซื้อ รวมทั้งห้องเย็นในการเก็บรักษา ก่อนที่จะนำผลผลิตที่รับซื้อจากเกษตรกรทั้งหมดไปมอบให้กับโครงการความช่วยเหลือด้านอาหารต่างๆ ในสหรัฐฯ อย่างเช่น ธนาคารอาหาร เป็นต้น

ประธาธิบดีโอบามา กล่าวด้วยว่า จะเร่งให้สภาคองเกรสผ่านร่างบัญญัติการเกษตรเพื่อรัฐบาลจะได้มีเงินไปรับซื้อผลผลิตของเกษตรกรและชาวสวน ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งได้มากขึ้น

ขอขอบคุณ http://www.krobkruakao.com

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank