พายุพัดถล่มสนามบินเมืองฟอร์ท เวิร์ธ เท็กซัส และอาคารบ้านเรือน

Tuesday, 14 August 2012 Read 772 times Written by 

14 08 2012 8

พายุพัดถล่มรัฐเท็กซัสของสหรัฐฯ สร้างความเสียหายให้กับอาคารบ้านเรือน และเครื่องบินอีกหลายลำ ในสนามบินที่ถูกพายุพัดกระหน่ำ

พายุพัดถล่มรัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา ทำให้สนานบินเมืองฟอร์ท เวิร์ธ (Fort Worth) ทางตอนเหนือของรัฐเท็กซัสต้องเสียหาย โดยอาคารหลายหลังของสนามบิน และเครื่อบบินอีก 15 ลำ ที่จอดอยู่ที่รันเวย์ ก็ได้รับความเสียหายด้วย ทั้งนี้ มีรายงานว่า พายุที่พัดถล่มมีความเร็วลมถึง 113 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นอกจากนี้ พายุยังสร้างความเสียหายให้กับบ้านเรือน ต้นไม้และเสาไฟฟ้าหักโค่น ชาวบ้านหลายพันคนไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้ แต่ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ

ส่วนที่เมืองเดนตัน เคาน์ตี้ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองฟอร์ท เวิร์ธ พายุสร้างความเสียหายให้กับบ้านเรือนและโรงนาหลายหลัง ชาวบ้านกว่า 2 หมื่น 2 พันคนไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้ เจ้าหน้าที่ต้องเร่งซ่อมแซมเสาไฟฟ้าที่ได้รับความเสียหายเพื่อกู้กระแสไฟฟ้าให้กลับมาใช้การได้

ขอขอบคุณ http://news.thaipbs.or.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank