ละตินอเมริกาเผชิญคลื่นความร้อน

Thursday, 09 January 2014 Read 1050 times Written by 

09 01 2014 2

ที่ทวีปอเมริกาเหนือกำลังเผชิญกับสภาพอากาศที่หนาวจัดสุดขั้ว แต่ที่อเมริกาใต้กลับต้องเผชิญกับคลื่นความร้อน และส่งผลกระทบ ไปถึงบรรดาสัตว์ต่างๆ ในสวนสัตว์ที่ต้องหาวิธีการคลายร้อนกัน

โดยที่บราซิล เจ้าหน้าที่ของสวนสัตว์ในนครริโอ เดอ จาเนโร ต้องนำผลไม้ในก้อนน้ำแข็งให้กับสัตว์ต่างๆ ได้กินกัน เพื่อคลายความร้อน ท่ามกลางอุณหภูมิสูงถึง 49 องศาเซลเซียส ขณะที่หมีในสวนสัตว์ คลายร้อนด้วยการลงไปนั่งในสระน้ำ และแทะน้ำแข็งก้อนใหญ่ที่ผู้ดูแลนำมาให้ ส่วนเจ้ากอริลล่า เพลิดเพลินกับการแทะไอศกรีมโยเกิร์ตรสสตรอเบอร์รีคลายร้อน

จาคาร์ลา ช้างเพศเมีย ก็กำลังกินผลไม้และเนื้อแช่แข็งที่ผู้ดูแลบอกว่า ผลไม้แช่แข็งจะช่วยให้สัตว์ไม่ขาดน้ำ และทำให้สัตว์ได้พัฒนาสมองด้วย เนื่องจากสัตว์ต้องหาวิธีที่จะกินผลไม้ข้างใน

ส่วนที่อาร์เจนตินา เจ้าหน้าที่ใช้เครื่องมือเพื่อเก็บปลาหลายร้อยตัว ที่ลอยตายอยู่บ่อน้ำของสวนสาธารณะกลางกรุงบัวโนสไอเรส เนื่องจากอุณหภูมิที่ร้อนจัด ทำให้ก๊าซออกซิเจนในน้ำมีปริมาณลดลง

Credit : http://www.krobkruakao.com

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank