ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: เราจะปรับตัวและรับมือได้อย่างไร?

Tuesday, 23 August 2011 Read 2037 times Written by 

คำนำและบทสรุป

คู่มือฉบับนี้สรุปบทวิเคราะห์ล่าสุดของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ถึงความรู้ในปัจจุบันที่เกี่ยวกับผลกระทบ การปรับตัวและรับมือและความล่อแหลมของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ1 ซึ่งองค์ความรู้เหล่านี้ได้สรุปอยู่ในประเด็นสาร 16 ประการ ดังต่อไปนี้

1. ปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและตามธรรมชาติ
2. ปัจจุบัน สามารถคาดการณ์ถึงขนาดของผลกระทบจากช่วงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างเป็นระบบมากขึ้น
3. ระบบและภาคส่วนบางประเภทจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นพิเศษ
4. พื้นที่บางแห่งจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นพิเศษ
5. ในทุกๆ อาณาบริเวณ แม้แต่ในที่ที่มีรายได้สูง จะมีคนบางกลุ่มได้รับความเสี่ยงเป็นพิเศษ
6. ผลกระทบโดยรวมของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีโอกาสสูงในด้านลบ
7. คาดว่า ความถี่และความรุนแรงของการเกิดสภาวะความรุนแรงของลมฟ้านั้นจะส่งผลกระทบร้ายแรง
8. มีความป็นไปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศขนาดใหญ่บางประการจะส่งผลกระทบร้ายแรงในวงกว้าง โดยเฉพาะหลังศตวรรษที่ 21
9. แม้ว่าจะมีการปรับตัวและรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันและอนาคต แต่การปรับตัวและรับมือดังกล่าวยังคงมีข้อจากัด
10. การปรับตัวและรับมือมีความจาเป็นอย่างยิ่งเพื่อตอบสนองต่อผลกระทบที่เกิดจากภาวะโลกร้อน ซึ่งสืบเนื่องมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอดีตที่ผ่านมา
11. แม้จะมีทางเลือกสาหรับการปรับตัวและรับมือที่หลากหลาก แต่มีความจาเป็นที่จะต้องมีการรับมือที่ครอบคลุมรอบด้าน
12. ความล่อแหลมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะยิ่งเพิ่มขึ้นและส่งผลมากขึ้นด้วยปัจจัยแรงกดดันต่างๆ
13. ความล่อแหลมในอนาคตไม่ได้ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับแนวทางการพัฒนาอีกด้วย
14. การพัฒนาที่ยั่งยืนสามารถลดความล่อแหลมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจทาลายศักยภาพของประเทศในการบรรลุผลต่อแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
15. สามารถหลีกเลี่ยง ลดและชะลอการเกิดผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศได้หลายประการ โดยการลดหรือบรรเทาการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
16. เราต้องการมาตรการปรับตัวและรับมือและมาตรการบรรเทาเชิงบูรณาการเพื่อรับมือกับความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการผสานมาตรการไม่ประสบผลสาเร็จเนื่องจากการขาดข้อมูลต้นทุนและผลประโยชน์จากมาตรการปรับตัวและรับมือ

ขอขอบคุณข้อมูลจาก: ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank