Greenhouse gas emissions from rubber industry in Thailand

Thursday, 07 July 2011 Read 1449 times Written by 

paper 07-07-54

Warit Jawjit a,d,*, Carolien Kroeze b,c, Suwat Rattanapan a

a Faculty of Science and Technology (Saiyai), Rajamangala University of Technology Srivijaya, Thung Song, Nakhon si thammarat 80110, Thailand
b Environmental Systems Analysis Group, Wageningen University, P.O. Box 47, 6700 AA, Wageningen, The Netherlands
c School of Science, Open University, The Netherlands
d National Excellence Center for Environmental and Hazardous Waste Management-Satellite Center at Prince of Songkla University, Thailand

a b s t r a c t
Rubber production has been taking place in Thailand for many decades. Thailand is currently the world’s largest natural rubber producer. We present emissions of greenhouse gases associated with the production of fresh latex, and three primary rubber products, including concentrated latex, block rubber (STR 20), and ribbed smoked sheet (RSS) in Thailand. Besides industrial activities in the rubber mills, the
agricultural activities in rubber tree plantation are taken into account. The overall emissions from the production of concentrated latex, STR 20, and RSS amount to 0.54, 0.70, and 0.64 ton CO2-eq/ton product, respectively. This is for the case that rubber plantations have been located on cultivated lands for more than 60 years, which is current practice in most of Thailand. Emissions are largely associated with energy use and the use of synthetic fertilizers. We also quantify emissions for the case that tropical forests have been converted to rubber plantations relatively recently, which is a recent trend in Thailand. In this case the emissions are much higher because of carbon loss from land conversion: 13, 13, and 21 ton CO2-eq/ ton product for concentrated latex, STR 20, and RSS, respectively. We discuss the implications of our results for strategies to reduce greenhouse gas emissions from rubber production.

2009 Elsevier Ltd. All rights reserved.

ในงานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการศึกษาปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากอุตสาหกรรมผลิตยางพารา โดยสามารถแบ่งประเภทของผลผลิตได้เป็น น้ำยางข้น ยางแท่ง (STR20) และยางแผ่นรมควัน โดยการคำนวณการปลดปล่อยจะพิจารณาถึงกิจกรรมทุกประเภทที่เกิดขึ้นในส่วนของเกษตรกรเอง นอกเหนือไปจากการปลดปล่อยที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตในโรงงาน ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกระบวนการผลิตน้ำยางข้น ยางแท่ง (STR20) และยางแผ่นรมควันมีค่าเท่ากับ 0.54 0.70 และ 0.64 ตันสมมูลของคาร์บอนไดออกไซด์ต่อตันของผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ

ขอขอบคุณ: http://www.sciencedirect.com/
สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจาก: http://www.sciencedirect.com/

 

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank