สัญญาณไม่ดี น้ำแข็งกรีนแลนด์ละลายพรวด 2 พันล้านตัน! 40%

Tuesday, 18 June 2019 Read 784 times Written by 

june1-1

น้ำแข็งกรีนแลนด์ละลาย – วันที่ 15 มิ.ย. ซีเอ็นเอ็น รายงานว่า น้ำแข็งในเกาะกรีนแลนด์ ดินแดนเหนือสุดของโลก ในมหาสมุทรอาร์กติก
เริ่มละลายอย่างรวดเร็วในสัปดาห์นี้ เฉพาะเมื่อวันที่ 13 มิ.ย. ละลายไปถึง 2 พันล้านตัน หรือคิดเป็นกว่าร้อยละ 40 ของน้ำแข็งในกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ปกติ นับเป็นสัญญาณไม่ดี เพราะเพิ่งเริ่มฤดูร้อน

นายโธมัส โมเทอ นักวิจัย มหาวิทยาลัยจอร์เรีย ผู้ศึกษาสภาพอากาศของเกาะกรีนแลนด์ กล่าวว่า กรณีนี้เป็นเรื่องปกติ แต่ก็ไม่ถึงกับไม่เคยเกิดขึ้น “ครั้งนี้เปรียบเทียบได้กับเมื่อครั้งแผ่นน้ำแข็งเกือบละลายทั้งแผ่นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน 2545 นับตั้งแต่เคยบันทึกมา” นายโมเทอกล่าว

เป็นไปได้ว่าในปี 2562 น้ำแข็งอาจละลายในกรีนแลนด์จนทำลายสถิติ ส่งผลให้ระดับน้ำในทะเลสูงขึ้น
โดยปริมาณน้ำแข็งที่ละลายเท่ากับเติมน้ำแข็งในสวนเนชั่นแนลมอลในกรุงวอชิงตันให้ถึงจุดที่สูงขึ้นบนฟ้า คิดเป็น 8 เท่าของอนุสาวรีย์วอชิงตัน

Credit : https://www.khaosod.co.th/around-the-world-news/news_2621892

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank