13 ธ.ค.ที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์นิวยอร์ก

Monday, 14 December 2015 Read 690 times Written by 

14 12 2015 3
อุณหภูมิวันที่ 13 ธ.ค. ที่ผ่านมา ของนครนิวยอร์ก สหรัฐ สูงที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึก วันจันทร์ที่ 14 ธันวาคม 2558 เวลา 10:58 น. สำนักข่าวเอเอฟพี รายงานจากนครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 14 ธ.ค. ว่า ศูนย์บริการสภาพอากาศแห่งชาติสหรัฐ รายงานว่า วันอาทิตย์ที่ 13 ธ.ค. ที่ผ่านมา เป็นวันที่ 13 ธ.ค. ที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ของนครนิวยอร์ก โดยอุณหภูมิที่สวนสาธารณะเซ็นทรัลพาร์ควัดได้ 19 องศาเซลเซียส ตามรายงานสภาพอากาศที่เริ่มมีการบันทึกมาตั้งแต่ปี 2412 อุณภูมิเฉลี่ยในวันที่ 13 ธ.ค. ของนครนิวยอร์กอยู่ที่ราว 3.3 องศาเซลเซียส โดยอุณภูมิสูงที่สุดที่เคยวัดได้ก่อนหน้านี้คือเมื่อปี 2466 อยู่ที่ประมาณ 17.7 องศาเซลเซียส โดยคาดว่าอุณภูมิจะยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ยเช่นนี้ไปตลอดทั้งสัปดาห์ ทั้งนี้ อุณภูมิที่สูงเป็นประวัติการณ์เมื่อวันที่ 6 พ.ย. ที่ผ่านมา โดยอุณหภูมิที่ท่าอากาศยานลากวาร์เดียวัดได้ราว 23.8 องศาเซลเซียส และที่สวนสาธารณะเซ็นทรัลพาร์ควัดได้ราว 23.3 องศาเซลเซียส. “

อ่านต่อที่ : http://www.dailynews.co.th/foreign/366880

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank