แผ่นดินไหวเสฉวน 5.6 แมกนิจูด

Wednesday, 26 November 2014 Read 792 times Written by 

26 11 2014 4

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่25พ.ย.ว่าสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐแจ้งเหตุแผ่นดินไหวรุนแรงวัดได้ 5.6แมกนิจูดเมื่อเวลา 23.19น.ของวันอังคารที่25พ.ย.ตามเวลาท้องถิ่นตรงกับ 22.19น.วันเดียวกันตามเวลาในประเทศไทยในบริเวณพื้นที่ของมณฑลเสฉวนทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีนโดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่25กม.ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองกังติงเมืองบนเทือกเขาซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของมณฑลเสฉวนและ ยังอยู่ลึกลงไปใต้ดิน11กม.ยังไม่มีรายงานความเสียหายผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ

ด้านศูนย์เครือข่ายแผ่นดินไหวของจีนแจ้งว่า วัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวได้5.8แมกนิจูดและอยู่ลึกลงไปใต้ดิน 16กม.

ในบริเวณเดียวกันนี้ได้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงมาแล้ววัดได้ 5.9แมกนิจูดเมื่อวันเสาร์ที่ 22พ.ย.ที่ผ่านมามีรายงานผู้เสียชีวิต 5ศพและบาดเจ็บหลายสิบคน

เมื่อเดือนพ.ค.2551เคยเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง7.9แมกนิจูดในมณฑลเสฉวน ยังผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า80,000ศพสร้างความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง

Credit : http://www.dailynews.co.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank