เหยื่อมรสุมศรีลังกาเพิ่มเป็น 54 ศพ

Wednesday, 12 June 2013 Read 851 times Written by 

12 06 2013 2

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา เมื่อวันที่ 12 มิ.ย.ว่า ศูนย์บริหารจัดการวิบัติภัยแถลงว่า มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 54 ศพ ส่วนใหญ่จะเป็นชาวประมง เพราะสภาพคลื่นลมแรงในทะเลเนื่องจากอิทธิพลของลมมรสุม ซึ่งพัดเข้าสู่ประเทศศรีลังกา เมื่อเช้าวันเสาร์ที่ 1 มิ.ย.ที่ผ่านมา นอกนั้นก็ยังมีสูญหายอีก 17 คน และบาดเจ็บอีก 33 คน

นายมหินทา อมราวีระ รัฐมนตรีบริหารจัดการวิบัติภัย กล่าวว่า ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่ เพราะคลื่นลมแรง ขณะที่พวกเขาซึ่งเป็นชาวประมงออกไปจับปลาในทะเล โดยใช้เรือประมงขนาดเล็ก ซึ่งไม่มีทั้งเสื้อชูชีพและวิทยุสำหรับการติดต่อสื่อสาร กรณีที่มีพายุเข้า ดังนั้น เขาจึงจะเสนอให้บังคับใช้เป็นกฎหมายว่า เรือทุกลำจะต้องมีเสื้อชูชีพติดไว้ รวมทั้งอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยอื่นๆ ซึ่งจะสามารถช่วยลดการสูญเสียลงได้ แม้ว่าชาวประมงบางคนจะได้รับเสื้อชูชีพแบบแจกฟรี แต่พวกเขาก็ไม่ยอมเอาติดเรือไปด้วย หลังจากที่เคยเกิดโศกนาฏกรรมแบบเดียวกันนี้มาแล้วเมื่อสองปีก่อน

Credit: http://www.dailynews.co.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank