มณฑลยูนนานของจีนเผชิญวิกฤตภัยแล้ง

Saturday, 30 March 2013 Read 1063 times Written by 

30 03 2013 1

มณฑลยูนนานทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีนกำลังเผชิญภัยแล้งรุนแรง ส่งผลให้ประชาชน 2.6 ล้านคนต้องประสบภาวะขาดแคลนน้ำ โดยเฉพาะน้ำดื่ม

สภาพอากาศที่แห้ง และอุณหภูมิที่พุ่งสูงในมณฑลยูนนานทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ส่งผลให้เกิดภัยแล้งรุนแรงต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการเกษตรเป็นมูลค่าถึง 6,000 ล้านหยวน ส่งผลกระทบกับประชาชน 2.6 ล้านคน สัตว์ท่ใช้ทางการเกษตร 1.3 ล้านตัว และพื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง นอกจากนี้ ประชาชนยังประสบภาวะขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ และสถานการณ์ยังคงวิกฤต

มีรายงานว่า แม่น้ำ 194 สาย และอ่างเก็บน้ำอีก 154 แห่ง ของมณฑลยูนนานอยู่ในสภาพที่แห้งเหือด ทำให้ทางการท้องถิ่นต้องหาทางคลี่คลายวิกฤตด้วยวิธีรีไซเคิลน้ำ และแบ่งสันปันส่วนน้ำให้กับเมืองต่างๆ โดยในเมืองคุนหมิง ซึ่งเป็นเมืองเอกของมณฑล ต้องจำกัดการส่งจ่ายน้ำเหลือเพียง 1 แสนตันต่อวัน และมีการรีไซเคิลน้ำเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่แล้วกว่า 3.2 ล้านตัน

Credit: http://news.thaipbs.or.th/

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank