ระบบส่งน้ำอ่างเก็บน้ำคลองสียัด

Monday, 01 April 2013 Read 1846 times Written by 

01 04 2013 11

พัฒนาระบบส่งน้ำอ่างเก็บน้ำคลองสียัด

นายพรชัย  แสงอังศุมาลี ผู้อำนวยการสำนักงานก่อสร้าง 8 (โครงการคลองสียัด) กรมชลประทาน เปิดเผยถึงความคืบหน้าของโครงการก่อสร้างคลองส่งน้ำและคลองระบายน้ำ พร้อมอาคารประกอบโซน C สัญญาที่ 2 ของโครงการอ่างเก็บน้ำคลองสียัด จังหวัดฉะเชิงเทรา ว่า ขณะนี้การดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จพร้อมส่งมอบภายในเดือนมีนาคม 2556 นี้ โดยคลองส่งน้ำสายใหม่จะประกอบด้วย คลองส่งน้ำสายใหญ่ สายซอย สายแยกซอย และคลองระบาย ระยะทางรวมกันประมาณ 131 กิโลเมตร ซึ่งจะทำให้มีพื้นที่ชลประทานใหม่เพิ่มขึ้นกว่า 44,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรมใน 3 อำเภอของจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้แก่ อำเภอท่าตะเกียบ อำเภอสนามชัยเขต และอำเภอพนมสารคาม มีราษฎรได้รับประโยชน์กว่า 2,000 ครัวเรือน

โดยขณะนี้กรมชลประทานได้เตรียมพร้อมจัดตั้งคณะกรรมการภาคประชาชน บริหารจัดการน้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานสามารถเพาะปลูกทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น.

Credit: http://www.dailynews.co.th/agriculture/186770

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank