การติดตามการดำเนินงานพื้นที่นำร่อง สสภ.5

Friday, 27 July 2018 Read 16379 times Written by 

Picture REO5 01

การติดตามการดำเนินงานพื้นที่นำร่อง
สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 5 จังหวัดนครปฐม (สสภ. 5)

     กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานของสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 5 จังหวัดนครปฐม (สสภ.5) โดยได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผน/โครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในพื้นที่ลุ่มน้ำท่าจีน ระหว่างวันที่ 6-7 มิถุนายน 2561 ณ โรงแรมชวาลัน รีสอร์ท อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม มีผู้เข้าร่วมประชุมจากสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ชัยนาท สุพรรณบุรี นครปฐม และสมุทรสาคร) และสสภ.5 จำนวน 45 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการดำเนินโครงการ กิจกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก หรือกิจกรรมตามมาตรา 6 ให้แก่บุคลากร สสภ.5 และ ทสจ. ในพื้นที่ลุ่มน้ำท่าจีน 4 จังหวัด (ชัยนาท สุพรรณ นครปฐม และสมุทรสาคร)

Picture REO5 02

Picture REO5 03

Picture REO5 04

 

Download attachments:

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank