การปลูกพืชผักสวนครัวทนแล้ง

Monday, 10 March 2014 Read 46618 times Written by 

10 03 2014 19

นายเรือง  ดียิ่ง วัย 62 ปี เกษตรกรผู้ปลูกผักสวนครัว  อยู่บ้านเลขที่ 57 หมู่ 6 บ้านแบกจาน  เปิดเผยว่า  หลังจากปีนี้ภัยแล้งมีความรุนแรงกว่าทุกปีที่ผ่านมา ส่งผลให้พืชผักสวนครัว  อาทิ ผักคะน้า ผักบุ้ง และผักกวางตุ้ง ที่เคยปลูกขายไม่สามารถเจริญเติบโตและเสียหายในช่วงหน้าแล้งนี้  ตนเองต้องหันมาปลูกพืชผักที่ทนแล้งและใช้น้ำน้อยแทน  เช่น  แมงลัก โหรพา และผักเสี้ยน  เพื่อหารายได้จุนเจือครอบครัวในช่วงหน้าแล้ง ถึงแม้รายได้จะลดลงจากเดิมมาก ทั้งที่เมื่อก่อนจะสามารถเก็บผักต่างๆหลายชนิดส่งขายได้ทุกวัน และสามารถสร้างรายได้ถึงวันละ 500-1,500 บาท ต่อวันก็ตาม  แต่ในช่วงหน้าแล้งปีนี้กลับกัน จะสามารถเก็บใบโหรภา แมงลักและผักเสี้ยน ไปส่งขายในตลาดอำเภอสังขะได้ 2-3 วันต่อครั้ง  เหลือรายได้วันละประมาณ 300 บาทเท่านั้น  แต่ก็ต้องทำต่อไปจนกว่าจะถึงฤดูกาลทำนา ส่วนผักโหระพา แมงลักและผักเสี้ยน  ตนจะมัดส่งขายให้กับบรรดาพ่อค้าแม่ค้าในตลาดสดอำเภอสังขะในราคา 3 มัด 10 บาท.

Credit เนื้อหา : http://www.dailynews.co.th/Content/regional/138172/

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank