ชุมชนโนนทองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

Wednesday, 05 September 2012 Read 25754 times Written by 

05 09 2012 6

การปรับตัวของชุมชนโนนทองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

นายหาญชัย นนทะแสน

ผลกระทบและการปรับตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
1. ด้านชีวิตประจำวัน
2. ด้านความมั่นคงทางอาหาร
3. ด้านสุขภาพ
4. ด้านเศรษฐกิจและอาชีพ
5. ด้านชุมชนและสังคม
6. ด้านการศึกษา
7. ด้านภัยธรรมชาติ

1. ด้านชีวิตประจำวัน
ผลกระทบ
- ทาให้ทางานหนักขึ้นและช้าลง
การปรับตัว
- หลบพักใต้ต้นไม้หรือเปลี่ยนมาทางานใต้ร่มไม้แทน

2. ความมั่นคงทางอาหาร
ผลกระทบ
- เมื่อป่าถูกทาลายทาให้เกิดความเสื่อมโทรมส่งผลให้วิถีชีวิตของคนอีสานที่ต้องพึ่งพาธรรมชาติในการที่อาหารลดน้อยลงและอาจนาไปสู่การสูญสิ้นวิถีชีวิตทามาหากินของคนอีสานในอนาคตได้
การปรับตัว
- ชาวบ้านต้องร่วมมือร่วมใจในการปลูกป่าทดแทนและบารุงรักษาให้กลับมาสมบูรณ์ดังเดิม โดยใช้ทุนทางสังคมของชุมชน
- รู้จักการปลูกผักผลไม้โดยไม่ใช้สารเคมีและเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นการสร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับครัวเรือนของตนเอง

3. ด้านสุขภาพ
ผลกระทบ
- เกิดความเครียดส่งผลต่อสุขภาพจิตและสุขภาพกาย อาจมีสาเหตุมาจากสภาพภูมิอากาศ เศรษฐกิจและการวิ่งตามกระแสบริโภคนิยม
การปรับตัว
- พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ไม่ทะเยอทะยานจนทาให้ตัวเองเดือดร้อน
- รับประทานอาหารที่ปลูกเองเพราะมั่นใจว่าปลอดสารพิษ
- ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

4. เศรษฐกิจ / อาชีพ
ผลกระทบ
- สภาพอากาศที่แปรปรวนทาให้ชาวบ้านวิตกกังวลเรื่องการประกอบอาชีพ จึงทาให้ชุมชนมีรายได้ในเรื่องของอาชีพ
การปรับตัว
- นำเอาภูมิปัญญาพื้นบ้านมาประยุกต์กับความรู้ใหม่เพื่อสร้างมูลค่าและคุณค่าซึ่งจะนำไปสู่นวัตกรรมใหม่ของอาชีพในชุมชน

5. ชุมชน / สังคม
ผลกระทบ
- คนในชุมชนยังขาดความตระหนักและเห็นความสาคัญของสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
การปรับตัว
- เทศบาลตำบลโนนทองร่วมกับชุมชนได้ทากิจกรรมด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไป ถือเป็นวาระเร่งด่วนของเทศบาลตาบลโนนทอง

6. การศึกษา
ผลกระทบ
- ขาดการบูรณาการระหว่างโรงเรียนกับชุมชนในด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
การปรับตัว
- ทางเทศบาลตาบลโนนทองได้ให้ความสาคัญกับการศึกษาของเด็กและได้ทาข้อตกลงกับทางโรงเรียน จานวน ๑๐ โรงเรียน ในพื้นที่เทศบาลตาบลโนนทอง

7. ภัยธรรมชาติ
ผลกระทบ
- ป่าไม้เสื่อมโทรมทาให้เกิดลมพายุแรง
- ภัยแล้งอากาศร้อนจัด
การปรับตัว
- ชาวบ้านในเทศบาลตาบลโนนทองร่วมกันปลูกต้นไม้ในป่าชุมชนคาดว่าอีก ๓ -๕ ปี บรรยากาศในพื้นที่เทศบาลตาบลโนนทองจะมีความร่มรื่น อากาศเย็นสบายเป็นอัตรลักษณ์ที่ดีหลังจากป่าไม้เสื่อมโทรมไปในอดีตกาล

การจัดการเพื่อการปรับตัวทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ดิน
- บำรุงดินโดยใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและเปลี่ยนมาใช้ปุ๋ยชีวภาพแทน
นา
- ขุดสระเพื่อเก็บน้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง
ป่าไม้ / ต้นไม้
- ชาวบ้านสามารถเข้าไปเก็บของป่าได้แต่ห้ามตัดไม้ทาลายป่าหากพบเห็นก็จะมีการกล่าวตักเตือนหรือดาเนินคดีตามกฎหมาย
อากาศ
- ปัจจุบันสภาพอากาศของตาบลโนนทองอยู่ในเกณฑ์ดีมากอากาศเย็นสบายเพราะมีการปลูกต้นไม้จากการดูแลของคนในท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้นและปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
- เทศบาลตาบลโนนทองเป็นหน่วยงานที่จะต้องให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการลดใช้สารเคมีในการเกษตรเพื่อคืนความสมดุลให้กับระบบนิเวศสู่คนรุ่นหลังต่อไปตลอดจนการสร้างวัฒนธรรมของชุมชนในการร่วมกันอนุรักษ์หวงแหนให้กับลูกหลาน

อุปสรรคในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
1. การขาดความรู้ ขาดความเข้าใจ ขาดความตระหนักของปัจเจกบุคคล
2. แนวความคิดและแนวปฏิบัติของแต่ละคน อยู่บนพื้นฐานที่แตกต่างกัน
แนวทางแก้ไข
1.การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปอย่างต่อเนื่อง
2.ส่งเสริมการจัดกิจกรรมแบบ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมร่วมกันอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน

Credit: http://www.deqp.go.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank