กิจกรรมปลูกป่านิเวศหลังอาคารไดออกซิน

Monday, 31 December 2018 Read 26250 times Written by 


กิจกรรมปลูกป่านิเวศหลังอาคารไดออกซิน

di1

ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ได้จัดกิจกรรมปลูกป่านิเวศบริเวณด้านหลังอาคารไดออกซิน ณ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ในวันอังคารที่ 20 พฤษภาคม 2560 ภายใต้โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองและชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2560 ซึ่งมีจำนวนกล้าไม้ที่ปลูกทั้งหมด 1,314 ต้น 93 ชนิดพันธุ์ ประกอบด้วยไม้ประธานเรือนยอดเด่น 270 ต้น ไม้เรือนยอดรอง 789 ต้น และไม้พุ่ม 255 ต้น โดยมีขั้นตอนการเตรียมการปลูกป่านิเวศ ดังนี้
1. การเตรียมกล้าไม้
1) สำรวจแหล่งผลิตกล้าไม้ที่เพาะจากเมล็ดในท้องถิ่น
2) คัดเลือกชนิดพันธุ์ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง
3) เตรียมกล้าไม้ตามโครงสร้างป่าธรรมชาติ ประกอบด้วย ชั้นไม้ประธานเรือนยอดเด่น T1 (Tree 1), ชั้นไม้เรือนยอดรอง T2 (Tree 2), ไม้พุ่ม S (shrub)

2. การเตรียมดิน
1) ไถพรวน และสร้างเนินดิน (ผสมวัสดุและมูลสัตว์)
2) สร้างขั้นบันไดกรณีพื้นที่ลาดชัน
3) ปรับพื้นที่ให้เป็นเนินดินสูงขึ้นเป็นแนวการปลูก

di2

di3

di4

 

 

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank