The 2nd Workshop on Atmospheric Composition and the Asian Monsoon

Wednesday, 11 February 2015 Read 2398 times Written by 

11 02 2015 1

The Second Workshop on Atmospheric Composition and the Asian Summer Monsoon (ACAM)

Dates: 8-10 June 2015
Location: Thailand (near Bangkok)

Following the 1st ACAM workshop, held 9-12 June 2013 in Kathmandu Nepal, ACAM has been selected as an emerging international activity jointly sponsored by SPARC and IGAC . The second workshop, planned for 8-10 June 2015, is an important milestone for the activity formation. The scientific scope of the workshop follows the four scientific themes of ACAM, each representing a key aspect of the connection between atmospheric composition and Asian monsoon dynamics:

    Emissions and air quality in the Asian monsoon region.
    Aerosols, clouds, and their interactions with the Asian monsoon.
    Impact of monsoon convection on chemistry.
    UTLS Response to the Asian Monsoon.

In addition to the scientific topics, the workshop will also devote a portion of the agenda to reports and breakout discussions of the current and future work taking place under the four ACAM working groups (WG):

    WG1: Data Sharing (focused on organizing data sharing for ACAM-relevant measurements).
    WG2: CCMI Partnership (focused on forming a partnership with the Chemistry Climate Modeling Initiative activity to facilitate two-way communication on observations needed to test models).
    WG3: Field Campaigns Concept and Coordination (focused on the development of field campaign concepts and coordination of measurements efforts by the community in the Asian monsoon region).
    WG4: Training Schools (focused on developing the talent and expertise of ACAM scientists for utilizing community models and datasets that can be used for ACAM research).

ในระหว่างวันที่ 8-12 มิถุนายนนี้จะมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการที่ชื่อว่า The 2nd Workshop on Atmospheric Composition and the Asian Monsoon (ACAM) โดยในวันที่ 8-10 ที่โรงแรม Swissotel Le Concorde รัชดาภิเษก จะเป็นการจัด workshop ส่วนในวันที่ 11-12 จะเป็นการฝึกอบรมที่ AIT โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล และ AIT ร่วมเป็น Local Organizing Committee ใครสนใจเข้าร่วมงานสามรถดูรายละเอียดได้ทาง website  งานนี้ไม่มีค่าลงทะเบียน แต่ต้องส่ง abstract มาถึงจะมาร่วมงานได้ deadline ในการส่งคือ 15 มีนาคมนี้ เป็นโอกาสอันดีที่จะได้ฟังการบรรยายจากนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำทั้งจาก สหรัฐอเมริกา(NASA, NCAR และอื่นๆ ) ยุโรป และเอเชีย ฝากส่งต่อข้อมูลด้วยหากรู้จักคนที่ทำงานเกี่ยวกับ มลพิษทางอากาศ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ อุตุนิยมวิทยา และอื่นๆ https://www2.acd.ucar.edu/acam/bangkok2015

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank