ชาวสามโคกริมเจ้าพระยา เร่งขนของหนีน้ำเอ่อท่วม

Friday, 30 September 2016 Read 902 times Written by 

30 09 2016 5
แม่น้ำเจ้าพระยาเอ่อล้นเข้าท่วมบ้านริมน้ำของประชาชนชาวอำเภอสามโคกสูงกว่า 50 ซม. คาดตลอดคืนยังท่วมสูง ก่อนลดช่วงเช้า พร้อมเร่งย้ายข้าวของเครื่องใช้ขึ้นชั้นบน

เมื่อเวลา 19.00 น. วันที่ 29 ก.ย. ผู้สื่อข่าวลงพื้นที่ตรวจสอบแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณหมู่ 3 ต.ท้ายเกาะ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี พบน้ำท่วมเอ่อบ้านเรือนประชาชนที่อาศัยอยู่ติดกับแม่น้ำ โดยประชาชนได้เร่งเก็บข้าวของเพื่อหนีน้ำ ซึ่งระดับน้ำที่เอ่อท่วมนั้น คาดจะท่วมแบบนี้ทั้งคืน เมื่อถึงรุ่งเช้าก็จะลดลงบ้าง
 


นางพิมพ์ปวีณ์ ทองประสงค์ อายุ 53 ปี บ้านที่น้ำเอ่อล้นเข้าท่วม เปิดเผยว่า บ้านตนบริเวณชั้นล่างถูกน้ำท่วมสูงประมาณ 50 ซม. จึงขนย้ายข้าวของเครื่องใช้ไฟฟ้าขึ้นมาอยู่ชั้นบน เพื่อหนีปริมาณน้ำที่อาจจะสูงขึ้น โดยเฉพาะช่วงหัวค่ำปริมาณน้ำจะสูงขึ้นเพราะเป็นช่วงน้ำทะเลหนุน แต่พอใกล้สว่างน้ำก็จะลง ทั้งนี้ บ้านเรือนประชาชนที่อยู่นอกแนวกั้นน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาต่างได้รับผลกระทบเช่นกัน

อ่านต่อที่ : http://www.dailynews.co.th/regional/527118

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank