อ่างบึงกระโตนระดับน้ำลดฮวบ-สั่งงดทำนาปรัง

Thursday, 13 February 2014 Read 985 times Written by 

13 02 2014 2

เมื่อวันที่ 12 ก.พ. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า หลังจากฤดูหนาวผ่านไปจนเริ่มใกล้จะเข้าสู่หน้าร้อน อ่างเก็บน้ำบึงกระโตน ต.ประทาย อ.ประทาย จ.นครราชสีมา ซึ่งเป็นอ่างเก็บน้ำขนาดกลางมีเนื้อที่กว่า 3,700 ไร่ และมีหมู่บ้านที่อยู่โดยรอบอ่างเก็บน้ำรวม 5 หมู่บ้าน ที่ได้อาศัยน้ำในบึงเพื่อใช้ในการเกษตรและอุปโภคบริโภค โดยมีความเป็นไปได้ว่าจะส่อเค้าภัยแล้งรุนแรง เนื่องจากน้ำในอ่างเหลือน้อยชนิดจนระดับน้ำลดลงเร็วอย่างน่าตกใจ ทำให้กลุ่มชาวบ้านหวั่นว่าปีนี้อาจแล้งหนักกว่าทุกปีที่ผ่านมา แม้ว่าในช่วงฤดูฝนจะทำการขุดลอกคูคลองเพื่อให้น้ำไหลเข้ามากักเก็บแล้วก้ตาม แต่ปรากฎว่าปริมาณฝนตกน้อยเกินไป รวมทั้งทิ้งช่วงด้วย ล่าสุดจากการตรวจสอบพบว่า น้ำได้ลดระดับจนใกล้แห้งขอดจนวัวควายสามารถเดินลลงไปเล็มหญ้าได้ สำหรับอ่างแห่งนี้นั้นประตูระบายน้ำไม่สามารถปล่อยให้น้ำไหลออกมาได้ เพราะระดับน้ำยังต่ำกว่าประตู ทางเกษตรอำเภอประทายต้องขอให้ชาวนางดทำนาปรังเพื่อประหยัดน้ำ.

Credit : http://www.dailynews.co.th/

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank