หนาวสุดเช้านี้อ่างขางแชมป์ 3.6 องศา

Wednesday, 22 January 2014 Read 756 times Written by 

22 01 2014 1

จากพยากรณ์อากาศกรมอุตุนิยมวิทยา ที่ระบุว่า วันที่ 21 ม.ค.57 จะมีบริเวณความกดอากาศสูงกำลังแรงระลอกใหม่แผ่ลงมาปกคลุมถึงประเทศไทยตอนบนซี่งจะปกคลุมต่อเนื่องจนถึงวันที่ 23 ม.ค. ทำให้มีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปอุณหภูมิจะลดลงอีก 2-4 องศาเซลเซียส มีลมแรง และน้ำค้างแข็งบางพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณเทือกเขาสูงในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จากการสอบถามสภาพอากาศเช้านี้จากศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ อุณหภูมิต่ำสุด ที่สถานีเกษตรอ่างขาง 3.6องศาเซลเซียส ที่ ดอยอ่างขาง 7.5 องศา ที่ อ.อุ้มผาง 8.2 องศาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต่ำสุดที่ สถานีเกษตร จ.นครพนม 8.3 องศา อ.สตึก จ.บุรีรัมย์11.0 จ.เลย 9.4 องศา

สภาพอากาศที่หนาวเย็นต่อเนื่องทำให้อุณหภูมิต่ำสุดลงไปถึงภาคใต้ฝั่งตะวันออกโดย สถานีเกษตรหนองพลับ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ต่ำสุด 15.6 องศา อ.เมือง จ.ชุมพร 16.5องศา

อย่างไรก็ดีสภาพอากาศที่หนาวเย็นในช่วงนี้ทุกจังหวัดอุณหภูมิต่ำสุดยังไม่ทำลายสถิติความหนาวจัดที่เคยมีมาก่อนหน้านี้

Credit : http://www.dailynews.co.th/

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank