ภัยแล้ง ส่งผลให้แหล่งน้ำธรรมชาติลดลงกระทบภาคการเกษตร

Sunday, 31 March 2013 Read 787 times Written by 

31 03 2013 2

แหล่งน้ำดิบสำหรับผลิตน้ำประปาในบางพื้นที่ของจังหวัดนครสวรรค์ เริ่มไม่เพียงพอต่อความต้องการ หลังระดับน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติลดลงอย่างรวดเร็ว ขณะที่นาข้าวบางส่วนในจังหวัดกำแพงเพชร ต้องถูกปล่อยทิ้งร้าง จากภาวะภัยแล้งที่ยังขยายวงกว้าง

นาข้าวบางส่วนในตำบลท่าไม้ อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร ถูกทิ้งร้าง หลังน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่แห้งขอดแล้ว ขณะที่นาข้าวซึ่งยังไม่เสียหาย ชาวนาต้องสูบน้ำจากคลองสู่คลองเป็นทอดๆ เพื่อนำน้ำมาหล่อเลี้ยงต้นข้าวที่กำลังอยู่ในช่วงเจริญเติบโต

ด้านองค์การบริหารส่วนตำบลนครสวรรค์ตก จังหวัดนครสวรรค์ ต้องติดตั้งเครื่องสูบน้ำขนาดใหญ่ สูบน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อผันน้ำไปยังบึงอ้อ สำหรับใช้เป็นแหล่งน้ำดิบในการผลิตน้ำประปา หลังระดับน้ำลดลงอย่างรวดเร็ว จนอาจประสบปัญหาไม่เพียงพอต่อประชากรหลายพันครัวเรือน ขณะที่แม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งมีระดับลงลงต่อเนื่องเช่นกัน ทำให้เจ้าหน้าที่ต้องแก้ปัญหา โดยขุดลอกร่องน้ำ เพื่อให้สามารถสูบน้ำขึ้นมาได้

Credit: http://news.thaipbs.or.th/

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank