จังหวัดแพ่รรับผลกระทบแล้วจาก "พายุไหหม่า"

Tuesday, 28 June 2011 Read 1325 times Written by 

pare flood

แพร่รับผลกระทบ‘ไหหม่า’
ผู้สื่อข่าวรายงานจากจังหวัดแพร่เมื่อเวลา 09.00 น.วันที่ 28 มิ.ย.สถานการณ์ฝนตกหนักด้วยอิทธิพลของพายุ “ไหหม่า” ส่งผลให้ปริมาณน้ำในแม่น้ำยมเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่เมื่อคืนที่ผ่านมา ระดับสูงสุดเมื่อเวลา 09.00 น. ที่ หน่วยตรวจระดับน้ำห้วยสัก อ.สอง ระดับน้ำสูง 8.56 เมตร ที่สถานีวัดระดับน้ำบ้านน้ำโค้ง ต.ป่าแมต. อ.เมือง จ.แพร่ ระดับน้ำในแม่น้ำยมสูง 8.66 เมตร ซึ่งคาดว่าระดับน้ำสูงสุดที่บริเวณบ้านน้ำโค้ง จะอยู่ในเวลาประมาณ 13.00 – 15.00 น.วันนี้ ซึ่งจากปริมาณน้ำที่ไหลมาจากจังหวัดพะเยาผ่านห้วยสัก เชื่อว่าในช่วงระดับน้ำสูงสุดจะเพิ่มขึ้นอีก 1 เมตรเศษ

นอกจากนี้ระดับน้ำจะท่วมในเขตอ.เมือง ที่ต.ป่าแมต ที่บ้านสองแคว บ้านน้ำโค้ง บ้านมหาโพธิ์ ร้องขี้ปลาต.ทุ่งกวาว ที่บ้านหัวดง กระทบกับที่อยู่อาศัยของประชาชน ส่วนใน อ.สอง อ.หนองม่วงไข่ อ.สูงเม่น อ.เด่นชัย อ.ลอง และ อ.วังชิ้น จะได้รับผลกระทบน้ำท่วมในพื้นที่เกษตรกรรมที่เกษตรกรเตรียมปลูกข้าว


ที่มา: ข่าวสดออนไลน์ (http://www.khaosod.co.th/)
วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2554 เวลา 13:12 น.

 

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank