ไต้ฝุ่น "ซันบา" จ่อถล่มหมู่เกาะโอกินาวา

Sunday, 16 September 2012 Read 779 times Written by 

16 09 2012 3-1

วันที่ 15 ก.ย. สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานจากกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ว่า พายุไต้ฝุ่นทรงพลังลูกมหึมา “ซันบา” เคลื่อนตัวด้วยกำลังแรงลม 270 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มุ่งหน้าเข้าหาหมู่เกาะโอกินาวา ทางใต้ของญี่ปุ่น ส่งผลให้เที่ยวบินโดยสารที่กำหนดบินขึ้นลงบนเกาะ ต้องยกเลิกเกือบ 80 เที่ยวในวันนี้ สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นในกรุงโตเกียว เผยว่า เมื่อเวลา 07.00 น. ตามเวลามาตรฐานสากล (14.00 น. ในประเทศไทย) ไต้ฝุ่นซันบาอยู่ห่างเกาะโอกินาวาลงไปทางใต้ประมาณ 310 กม. คาดว่าจะขึ้นฝั่งช่วงเช้าตรู่วันพรุ่งนี้

จากการคำนวณทิศทางคาดว่า ไต้ฝุ่นชบาจะเคลื่อนตัวเหนือทะเลจีนตะวันออก เข้าสู่ข่องแคบระหว่างคาบสมุทรเกาหลี กับเกาะกิวชูของญี่ปุ่น ตอนบ่ายวันจันทร์ ทางด้านโฆษกสายการบิน ออล นิปปอน แอร์เวย์ (เอเอ็นเอ) และ เจแปน แอร์ไลนส์ เผยว่า ทั้ง 2 สายการบินตัดสินใจยกเลิกเที่ยวบินโดยสารให้บริการรวม 76 เที่ยว ที่บินเข้าออกเกาะโอกินาวา ส่งผลกระทบต่อผู้โดยสารที่จองตั๋วไว้แล้วกว่า 17,000 คน.

ขอขอบคุณ http://www.dailynews.co.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank