อุทกภัยในเอเชียใต้มีผู้เสียชีวิตแล้ว 40 คน

Saturday, 25 August 2012 Read 823 times Written by 

25 08 2012 2

เอเชียใต้เผชิญกับอุทกภัยครั้งรุนแรง มีผู้เสียชีวิตแล้วกว่า 40 คน

ฝนที่ตกลงมาอย่างหนักในเมือง Jhunjhunu รัฐราชาสถานทางตะนตกเฉียงเหนือของอินเดีย ทำให้หลายพื้นที่ต้องจมอยูใต้น้ำ รายงานระบุว่า ฝนที่ตกลงมาในช่วงฤดูมรสุมนี้นับว่ารุนแรงที่สุดในรอบกว่า 30 ปี มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 20 คน

เจ้าหน้าที่กู้ภัยเชื่อว่า ยอดผู้เสียชีวิตจะเพิ่มสูงขึ้นอีก อุทกภัยที่เกิดขึ้นทำให้ประชาชนราว 2 หมื่นคน ต้องอพยพออกจากบ้านเรือน โรงเรียนปิดการเรียนการสอน ขณะที่การเดินทางทั้งทางรถไฟและรถยนต์ประสบภาวะชะงักงัน

ขณะที่ปากีสถาน ฝนในช่วงฤดูมรสุมทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่ภาคเหนือ มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 22 คน ทั้งจากน้ำท่วมและดินถล่ม สะพานและบ้านเรือนประชาชนจำนวนมากได้รับความเสียหาย กระแสน้ำยังทำให้ฝุงปศุสัตว์ล้มตายจำนวนมาก พยากรณ์อากาศประกาศเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลัน ในจังหวัด Kohat และ Mardan นอกจากนี้ยังประกาศเตือนภัยว่าจะเกิดฝนตกหนักอีกในจังหวัด Khyber และ Pakhtunkhwa

ขอขอบคุณ http://www.krobkruakao.com

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank