แผ่นดินไหวรุนแรง 6.7 เขย่านิวซีแลนด์

Tuesday, 18 November 2014 Read 754 times Written by 

18 11 2014 1

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงเวลลิงตัน ประเทศนิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 17 พ.ย. ว่าสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐ ( ยูเอสจีเอส ) รายงานการเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงระดับ 6.7 แมกนิจูด เมื่อเวลา 10.33 น. ตามเวลาท้องถิ่นของนิวซีแลนด์ ( 05.33 น. ตามเวลาในประเทศไทย ) โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปใต้ทะเลราว 35 กิโลเมตร และห่างจากเมืองกิสบอร์นบนเกาะเหนือออกไปทางตะวันออกราว 200 กิโลเมตร หลังเกิดเหตุ สำนักงานป้องกันภัยพลเรือนของนิวซีแลนด์ออกแถลงการณ์ประเมินแนวโน้มการก่อตัวของสึนามิในระดับต่ำ และยังไม่พบความเสียหายอื่นใด แต่ศูนย์เตือนภัยแผ่นดินไหวของประเทศในชื่อ "จีโอเน็ต" รายงานแรงสั่นสะเทือนรับรู้ได้แทบทั้งเกาะเหนือและพื้นที่ทางตอนเหนือของเกาะใต้ด้วย ทั้งนี้ หนึ่งในแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของนิวซีแลนด์ เกิดขึ้นที่เมืองไครซ์เชิร์ช บนเกาะใต้ เมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2554 โดยมีความรุนแรง 6.3 แมกนิจูด และคร่าชีวิตประชาชนอย่างน้อย 185 ศพ Credit : http://www.dailynews.co.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank