ญี่ปุ่นอพยพ 20,000 คนหนีซูเปอร์ไต้ฝุ่น "โนกูริ"

Tuesday, 08 July 2014 Read 797 times Written by 

08 07 2014 1

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 7 ก.ค. ว่าสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น ( เจเอ็มเอ ) ออกประกาศเตือนภัยซูเปอร์ไต้ฝุ่น "โนกูริ" ในระดับสีแดงซึ่งเป็นขั้นสูงสุดของการเตือนภัยสภาพอากาศเลวร้าย ที่จังหวัดคาโงชิมะ คุมาโมโตะ และนางาซากิ พร้อมกับสั่งอพยพประชาชนราว 20,000 คนบนเกาะคิวชู ซึ่งอาจเป็นเส้นทางผ่านของพายุ ที่มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางอยู่ที่ 260 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เทียบเท่าเฮอริเคนระดับ 5 ตามมาตรวัดระดับพายุซัฟเฟอร์-ซิมป์สัน

นอกจากนี้ เจเอ็มเอยังคาดการณ์อิทธิพลของพายุอาจทำให้เกิดฝนตกหนักเป็นวงกว้างทางตอนใต้ โดยที่จังหวัดคาโงชิมะอาจมีฝนตกหนักมากถึง 112 มิลลิเมตร จึงเตือนให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงเตรียมรับมือน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และดินถล่มในระยะนี้ด้วย ทั้งนี้ ผู้เชี่ยวชาญประเมินทิศทางของพายุอาจเคลื่อนตัวขึ้นไปทางตอนเหนือ หลังขึ้นฝั่งที่เกาะโอกินาวะ ภายในวันอังคารนี้ตามเวลาท้องถิ่น

http://www.dailynews.co.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank