น้ำท่วมภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน

Monday, 19 August 2013 Read 741 times Written by 

19 08 2013 3

สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานจากกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เมื่อวันที่ 18 ส.ค.ว่า สำนักข่าวซินหัวของทางการจีน รายงานวันนี้ว่า ยอดผู้เสียชีวิตจากน้ำท่วมครั้งเลวร้ายที่สุดในรอบหลายสิบปีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน เพิ่มขึ้นเป็น 37 ศพแล้ว โดยในมณฑลเหลียวหนิง มีรายงานมีผู้เสียชีวิตที่เกี่ยวกับน้ำท่วม 12 ศพ และสูญหาย 32 คนในเมืองฝูชุน หลังจากน้ำท่วมเมื่อวันศุกร์และเมื่อวานนี้  นอกจากนี้ น้ำยังไหลเข้าท่วมย่านชุมชนในมณฑลจี๋หลินเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา มีผู้เสียชีวิต 14 ศพ ขณะที่ ในมณฑลเฮย์หลงเจียง มีผู้เสียชีวิต 11 ศพ

ซินหัวรายงานว่า มีบ้านเรือนมากกว่า 2,500 หลัง ได้รับความเสียหาย และอย่างน้อย 12,500 หลัง เสียหายอย่างหนัก มูลค่าความสูญเสียรวมคิดเป็นเงิน 7,130 ล้านหยวน หรือ 1,150 ล้านดอลลาร์ และยังมีประชาชน 140,000 คนต้องอพยพออกจากบ้าน ส่วนพื้นที่ทางตอนใต้ของประเทศ ก็กำลังฟื้นตัว หลังไต้ฝุ่นอูตอร์พัดผ่านเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 10 คน

Credit : http://www.dailynews.co.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank