พฤษภาคมปีนี้ อุณหภูมิผิวโลกและพื้นทะเลสูงสุดในรอบ 134 ปี

Friday, 28 June 2013 Read 671 times Written by 

28 06 2013 2

เรื่องภาวะโลกร้อน ยังคงมีข้อมูลจากการติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของหลายหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง โดยในวันนี้มีข้อมูลขององค์การบริหารมหาสมุทรศาสตร์และชั้นบรรยากาศแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (NOAA) เกี่ยวกับการตรวจวัดอุณหภูมิบนแผ่นดินและผิวทะเล

ข้อมูลการตรวจวัดอุณหภูมิทั้งบนแผ่นดินและพื้นผิวทะเลพบว่า เดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา เป็นเดือนที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ในรอบ 134 ปี ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยในศตวรรษที่ 20 อยู่ที่ 0.66 องศาเซลเซียส

โดยจะเห็นได้ว่า มีหลายพื้นที่ทั่วโลกที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดจากค่าเฉลี่ย เช่น บางส่วนทางตอนเหนือของไซบีเรีย บางส่วนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ฟิลิปปินส์ทั้งประเทศ ตอนกลางค่อนทางตะวันตกของออสเตรเลีย ทางเหนือและตะวันออกของยุโรป บางส่วนของลิเบียและอัลจีเรีย ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา

ขณะที่อุณหภูมิต่ำสุดจากค่าเฉลี่ยนั้น อยู่ที่ด้านตะวันตกของกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นการวัดอุณหภูมิบนพื้นผิวโลกในระดับประมาณ 5.5 กิโลเมตร

Credit : http://news.thaipbs.or.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank