อินเดียอากาศร้อนจัด ประชาชนเสียชีวิตกว่า 500 คน

Friday, 31 May 2013 Read 1273 times Written by 

31 05 2013 2

คลื่นความร้อนที่แผ่ปกคลุมอินเดีย ทำให้มีผู้เสียชีวิตไปแล้วกว่า 500 คนในรัฐอานธระประเทศ ขณะที่โรงพยาบาลทั่วประเทศแออัดด้วยผู้ที่ล้มป่วยจากสภาพอากาศที่ร้อนจัด

เจ้าหน้าที่ของรัฐอานธระประเทศทางภาคใต้ของอินเดีย เปิดเผยว่า คลื่นความร้อนที่แผ่ปกคลุม ขณะที่สภาพอากาศร้อนอบอ้าวในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ ทำให้ประชาชนในรัฐเสียชีวิตกว่า 500 คน  และทำให้โรงพยาบาลต่างๆ แออัดด้วยผู้ป่วยที่เกิดภาวะสูญเสียน้ำในร่างกาย จากสภาพอากาศร้อนจัด

มีรายงานว่าอุณหภูมิจะสูงสุดในประวัติการณ์ถึง 45 องศาเซลเซียส และมีแนวโน้มว่าจะพุ่งสูงขึ้นอีกโดยเฉพาะพื้นที่ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกของประเทศ

โดยปกติ อินเดียเข้าสู่ฤดูมรสุมตั้งแต่เมื่อเดือนพ.ค. ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าวได้ แต่ขณะนี้ยังฝนตก  ทำให้อุณหภูมิสูงและสภาพอากาศที่ร้อนจัดส่งผลอย่างมากกับผู้ทำงานกลางแจ้ง โดยเฉพาะตำรวจจราจรและคนขับรถสามล้อ ซึ่งต้องหลบแดดในร่ม และขยายเวลาพัก เพื่อไม่ให้ร่างกายสูญเสียน้ำ

Credit: http://news.thaipbs.or.th

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank