''โบลิเวีย'' หนาวตายแล้วอย่างน้อย 35 คน

Tuesday, 05 July 2011 Read 1332 times Written by 

Bolivia

คลื่นความหนาวเย็นจากขั้วโลกใต้ ที่พาดผ่านประเทศโบลิเวีย ทำให้เกิดหมอกลงจัด และหิมะตกหนักขึ้นในกรุงลาปาซ คร่าชีวิตประชาชนไปแล้วอย่างน้อย 35 คน เขตเอลอัลโต เขตที่ยากจนและตั้งอยู่ในจุดที่สูงกว่าเขตอื่นๆ ของกรุงลาปาซ โดยมีความสูง 4 พันเมตรเหนือระดับน้ำทะเล เป็นเขตที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุด

เจ้าหน้าที่กองกำลังเฉพาะกิจต่อต้านอาชญากรรมของโบลิเวีย เปิดเผยว่า ประชาชนตามชุมชนที่ยากจนต่างๆ ของเขตเอลอัลโต อย่างน้อย 35 คนเสียชีวิต ขณะที่กระทรวงสาธารณสุขโบลิเวีย เปิดเผยว่า มีผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบหายใจ ถึงสัปดาห์ละประมาณ 4 หมื่นราย นับแต่คลื่นความหนาวเย็นเริ่มพาดผ่าน

ขณะนี้อุณหภูมิทั่วกรุงลาปาซลดต่ำถึงลบ 5 องศาเซลเซียส ด้านสำนักอุตุนิยมวิทยาของกรุงลาปาซคาดว่า อุณหภูมิจะลดต่ำลงอีกในช่วงไม่กี่วันข้างหน้า ขณะเดียวกันอุณหภูมิในส่วนอื่นของโบลิเวีย ก็ลดต่ำลงเป็นประวัติการณ์เช่นกัน โดยมีรายงานว่าในเขตซาลาร์เดอูยูนี่ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ อุณหภูมิลดลงถึงลบ 22 องศาเซลเซียส
ที่มาข้อมูล: http://www.krobkruakao.com/

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank