ประกาศยุติภัยแล้งแล้ว 12 จังหวัด จำนวน 40 อำเภอ

Thursday, 25 July 2019 Read 544 times Written by 

วันที่ 23 ก.ค.2562 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขอรายงานสถานการณ์สาธารณภัยประจําวัน ดังนี้

สถานการณ์สาธารณภัย

สถานการณ์น้ำไหลหลากและดินสไลด์
*จากอิทธิพลมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมภาคใต้ และบริเวณทะเลอันดามันและอ่าวไทยมีกําลังแรง ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ค. 62 – ปัจจุบัน ทําให้เกิดน้ําท่วมฉับพลัน น้ําป่าไหลหลาก และดินสไลด์ในพื้นที่ 4 จ. (พังงา ระนอง กระบี่ จันทบุรี) 7 อำเภอ 19 ต. 46 ม. ประชาชนได้รับผลกระทบ 297 ครัวเรือน 450 คน ไม่มีผู้บาดเจ็บ และเสียชีวิต ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้วทุกจังหวัด

สถานการณ์ภัยแล้ง
*จังหวัดที่มีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556

จํานวน 13 จ. พิษณุโลก ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ นครราชสีมา มหาสารคาม ตราด ชลบุรี อุตรดิตถ์ พิจิตร เชียงราย สุโขทัย น่าน ตาก) 42 อำเภอ 170 ตำบล 1,324 หมู่บ้าน โดยสาเหตุเกิดจากการขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และน้ำเพื่อการเกษตรกรรม

ได้ประกาศยุติสถานการณ์แล้ว ทั้งจังหวัด 12 จังหวัด 40 อำเภอ 159 ตำบล 1,245 หมู่บ้าน ได้แก่

1) จ.ร้อยเอ็ด 3 อำเภอ 3 ตำบล 14 หมู่บ้าน
2) จ.นครราชสีมา 3 อำเภอ 4 ตำบล35 หมู่บ้าน
3) จ.พิจิตร 1 อำเภอ 4 ตำบล 17 หมู่บ้าน
4) จ.สุโขทัย 3 อำเภอ 18 ตำบล 142 หมู่บ้าน
5) จ.พิษณุโลก 3 อำเภอ 11 ตำบล80 หมู่บ้าน
6) น่าน 1 อำเภอ 1 ตำบล 2 หมู่บ้าน
7) อุตรดิตถ์ 1อำเภอ 2 ตำบล 15 หมู่บ้าน
8) จ.ตราด 3 อำเภอ 23 ตำบล 154 หมู่บ้าน
9) จ.เชียงราย 13 อำเภอ 63 ตำบล 561 หมู่บ้าน
10) จ.ชลบุรี 1 อำเภอ 1 ตำบล7 หมู่บ้าน
11) ศรีสะเกษ 6 อำเภอ 16ตำบล126 หมู่บ้าน
12) ตาก (2อำเภอ 13 ตำบล 92 หมู่บ้าน )
ปัจจุบันยังคงมีจังหวัดที่ประกาศเขตฯ (ภัยแล้ง) จํานวน 1 จังหวัด 2 อำเภอ 11 ตำบล 79 หมู่บ้าน ดังนี้

july12

 

 

 

Credit : https://news.mthai.com/general-news/746901.html

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank