เม็กซิโก แล้งจัดที่สุดในรอบ 70 ปี

Wednesday, 01 February 2012 Read 1716 times Written by 

01_02_2012_1

เม็กซิโกกำลังเผชิญภัยแล้งรุนแรงที่สุดในรอบอย่างน้อย 70 ปี ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหายกว่า 2 ล้านไร่ และสัตว์ล้มตาย 1.7 ล้านตัว

ภัยแล้งเริ่มมาตั้งแต่ฤดูใบไม้ร่วงปีที่แล้ว เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญา ซึ่งทำให้ฝนตกน้อยกว่าปกติ โดยพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งมากที่สุดคือ รัฐทางตอนเหนือ และขณะนี้ก็เริ่มส่งผลกระทบต่อการผลิตฝิ่นและกัญชาที่มีผู้ลักลอบปลูกตามแนวตะเข็บชายแดน และปกติจะได้รับการดูแลเป็นอย่างดีเนื่องจากได้กำไรดี ส่งผลให้ปริมาณการปลูกพืชผิดกฎหมายเหล่านี้ลดลงมากเมื่อเทียบกับปีก่อนๆ

ภัยแล้งทำให้รัฐบาลเม็กซิโกต้องใช้รถบรรทุกน้ำไปแจกจ่ายให้ประชาชน 2.5 ล้านคนตามหมู่บ้านที่กระจัดกระจายอยู่ในพื้นที่กึ่งทะเลทราย รวมถึงแจกอาหารให้เกษตรกรที่ยากจน ซึ่งพืชผลเสียหายหมด

ปกติ รัฐทางตอนเหนือของเม็กซิโกจะมีฝนตกวัดปริมาณได้ 542 มิลลิเมตรต่อปี แต่ปีนี้ปริมาณน้ำฝนเหลือเพียง 308 มิลลิเมตรเท่านั้น และคาดฤดูฝนถัดไปจะยังไม่เริ่มจนกว่าเดือนมิถุนายน

ขอขอบคุณ http://www.krobkruakao.com 

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank