เกาหลีใต้ผวา! หิมะเดือน ธ.ค. 62 ตกน้อยสุดเป็นประวัติการณ์ ผลพวงโลกร้อน

Friday, 10 January 2020 Read 746 times Written by 

g 2020 23

กรมอุตุนิยมวิทยาเกาหลีใต้ เผยว่า เดือน ธ.ค. ปีที่แล้ว เป็นเดือน ธ.ค. ที่มีหิมะตกน้อยที่สุดตั้งแต่มีการบันทึกสถิติมา โดยตกหนาเพียงแค่ 3 มิลลิเมตรเท่านั้น ซึ่งเป็นผลจากอากาศที่อุ่น

หิมะที่ตกน้อยถึงเพียงนี้ ยังน้อยกว่าหิมะที่ตกในเดือนเดียวกันของปี 2541 แชมป์เก่า ที่ตกหนาเพียง 6 มิลลิเมตร

ส่วนเดือน ธ.ค. ที่มีหิมะตกน้อยรองลงมาคือ ปี 2521 ตามมาด้วยปี 2559 และ 2547

อันดับ      ปี           ความหนาของหิมะ (มิลลิเมตร)
   1      2562                       0.3
   2      2541                       0.6
   3      2521                       0.8
   4      2559                       0.9
   5      2547                       1.0

นอกจากประเทศเกาหลีใต้แล้ว กรุงมอสโกของรัสเซียก็เผชิญกับเดือน ธ.ค. ที่อากาศร้อนที่สุดในรอบ 133 ปี จนทำให้รีสอร์ทหลายแห่งต้องสร้างหิมะเทียมเพื่อสร้างบรรยากาศให้เข้ากับฤดูหนาว

Credit : https://www.sanook.com/news/8004710/
บทความโดย : Komkrit Duangmanee
ข้อมูล : The Korea Herald
ภาพ : Ed JONES / AFP

โครงการ

โครงการบรรเทาการปลดปล่อยก๊าชเรือนกระจก จากภาคเกษตรด้วยสารยับยั้งไนตริฟิเคชั่น
ชุดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
โครงการพัฒนาโมเดลต้นแบบ การจัดการขยะชุมชนต้านภัยโลกร้อนระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาดัชนีความร้อน และการประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย
ซอฟต์แวร์ประมวลผลปริมาณคาร์บอนในป่าและต้นไม้
ชุดโครงการศึกษาความตระหนักรู้และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในบริบทของความตกลงปารีส

เครื่องมือ

โปรแกรมประมวลผลดัชนีความร้อน สำหรับประเทศไทย
โปรแกรมการวิเคราะห์ และประมวลผลดัชนีความล่อแหลมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติในระดับจังหวัดและท้องถิ่น
ระบบเตือนภัยความร้อนและหมอกควัน
MCCAI ดัชนีการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเทศบาล
GHG-3Rs
แบบสอบถามออนไลน์: CCAI

ดัชนี

Ncar
Ncar
SOI Annual
Multivariate ENSO
Indian Summer and Western North Pacific Monsoon Index
Blank

ปริมาณคาร์บอน

ปริมาณคาร์บอน
ปริมาณคาร์บอนทั่วโลก
index-carbon
Carbon Market
Point Carbon
Blank

ภูมิปัญญา

Biogas
ภูมิปัญญา
ระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวและป่านิเวศในเมือง
โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อยางพาราในประเทศไทย
Blank
Blank